บทเรียนที่ 2 พื้นฐานการเขียนโปรแกรม micro:bit (1)

  การเขียนโปรแกรมคือการสั่งคำสั่งให้ไมโครบิตทำงานตามสิ่งที่เราออกแบบไว้ เราสามารถสั่งให้ไมโครบิตทำงานได้อย่างง่ายดาย
เพียงแค่ลากคำสั่งมาว่างต่อ ๆ กัน ในพื้นที่ทำงาน คำสั่งต่างๆ จะถูกจัดเก็บในบล็อคแต่ละหมวดอย่างมีระเบียบ และเราสามารถแยกแยะ
หมวดหมู่ของคำสั่งต่างๆ ได้จากสีของคำสั่ง ในการพัฒนาโปรแกรมควบคุมหุ่นยนต์ได้จะต้องเรียนรู้ชุดคำสั่งพื้นฐานต่างๆ ของโปรแกรม
micro:bit ที่จำเป็นในการเขียนโปรแกรมควบคุมห่นยนต์
 
1. ขั้นตอนการเขียนโปรแกรม
 
2. บล็อกคำสั่ง Basic
 
ตัวอย่างการใช้คำสั่งแสดงผล (Basic)
 
3. บล็อกคำสั่งInput
อินพุต (Input) เป็นชุดคำสั่ง
ตัวอย่างการใช้คำสั่งอินพุต (Input)
 
4. บล็อกคำสั่ง Loop
ลูป (Loop) เป็นเครื่องมือทุ่นแรงที่จะช่วยเราทำงานเดิมๆ ซ้ำๆ กันได้อย่างไม่รู้จักเหน็ดเหนื่อยดังนั้นการที่เราจะเขียนโปรแกรมได้เราจะต้อง
เข้าใจหลักการทำงานของการใช้ลูปเป็นอย่างดี ชุดคำสั่งที่จะใช้งานพื้นฐานมีดังนี้
ตัวอย่างการใช้คำสั่งลูป (Loop)
 
1. ลากคำสั่งลากคำสั่ง repeat 4 times ออกมาว่างใน onstart
2. ลากคำสั่ง show icon 3 อันมาว่างในลูปดังภาพด้านขวา
3. ดุผลลัพธ์ที่อีมูเลเตอร์ว่าภาพเปลี่ยนไปกี่ครั้งทดลองเปลี่ยน
ตัวเลขไปเรื่อยๆ แล้วดูผลลัพธ์ที่อีมูเลเตอร์อีกทีว่าตรงกับที่
ความแตกต่างระหว่างการใช้คำสั่งลูป (Loop) กับไม่ใช้คำสั่งลูป (Loop)
แบบที่ 1 แบบที่ 2
   
ลองมาดูส่วนของ Flowchart แต่ละแบบประกอบ
แบบที่ 1 แบบที่ 2